วันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สถาปนิก/วิศวกร ที่ชื่นชอบ



ศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์



ชื่อ-นามสกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์

ตำแหน่ง : หัวหน้าศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ที่ปรึกษาฝ่ายวางแผนและพัฒนา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

หัวหน้าหมวดวิชาวิศวกรรมปฐพี

กรรมการคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

กรรมการและเลขานุการ International Geosynthetics Society (IGS) - Thailand Chapter

อนุกรรมการ เพื่อพิจารณาจัดทำร่างกฎกระทรวงตามมาตรา 8 (2) และ (3) กำหนดลักษณะและคุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างอาคารด้านวิศวกรรมโยธา

การศึกษา :

· ปริญญาเอก Civil Engineering (Soil Engineer), Utah State UniversityUSA.

· ปริญญาโท Civil Engineering (Soil Engineer) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สาขาที่เชี่ยวชาญ :

Dam Risk Assessment, Dam engineering, Geotechnical Earthquake Engineering of Earth Dams

· Landslide Hazard

· Probabilistic Analysis and Uncertainty Analysis in Geotechnical Engineering

· Ground Improvement Techniques

Advanced Geotechnical Engineering Laboratory, Field and Laboratory Instrumentations

ประสบการณ์ทำงาน :

อาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ด้าน Soil Mechanics , Foundation Design, Pile Foundation, Foundation Engineering, Probabilistic and Reliability Based Design in Geotechnical Engineering ฯลฯ และเป็นอาจารย์พิเศษให้กับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ

· เป็นที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยเขื่อน กรมชลประทาน

· หัวหน้าโครงการและผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมเขื่อน กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม กรมทรัพยากรธรณี

· Dam Safety/Instrument and Material Expert กรมชลประทาน

· วิศวกรโยธาและหัวหน้าฝ่ายฝึกอบรม กรมชลประทาน

· หัวหน้าโครงการและผู้เชี่ยวชาญการวิเคราะห์ความเสื่อง ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

· หัวหน้าโครงการและผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมเขื่อนและแผ่นดินไหว บริษัท กฟผ จำกัด (มหาชน)

ฯลฯ


งานวิจัยที่ผ่านมา

·พัฒนาเครื่องมือเพื่อผลิตดินเทียมโดยใช้หลักการของการตกตะกอนและ Pre-Consolidation

· ศึกษาการปรับปรุงคุณภาพดินโดยใช้หลักการขอ Thermal Consolidation เพื่อแก้ปัญหาการทรุดตัวในระยะยาวของชั้นดินเหนียวอ่อน

· ศึกษาทดลองและวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการลดปริมาณการใช้น้ำบาดาลและการเพิ่มระดับน้ำในชั้นน้ำบาดาลทางเทคนิค ซึ่งเป็นการทดลองในห้องทดลองและการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ร่วมกันในการพิสูจน์ข้อเท็จจริงและผลกระทบทั้งหมดที่เกิดขึ้น

ฯลฯ

ผลงานวิจัยการออกแบบเครื่องมือ

· พัฒนาเครื่องมือเพื่อผลิตดินเทียมโดยใช้หลักการของการตกตะกอนและ Pre-Consolidation

· นำระบบการวัดและควบคุมด้านอิเลคโทรนิคและคอมพิวเตอร์มาใช้ในการควบคุมและวัดค่าการทดลองด้านปฐพีวิศวกรรม

· พัฒนาเครื่องมือทดสอ Consolidation เพื่อทดสอบดินเหนียวในระดับลึกถึง 600 เมตร เพื่อสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อคาดการณ์การทรุดตัวเนื่องจากการใช้น้ำบาดาล

ฯลฯ



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น